Use this space to put some text. Update this text in HTML
บทความที่ได้รับความนิยม
- เมนบอร์ด (Mainboard) คือ ศุนย์กลางของการเชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีชิปเซตที่ำทำหน้าที่รับ/ส่งข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆ อีกข...
- แรม (RAM) คืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร ถ้าให้พูดกันลอยๆก็คงคิดกันไปว่า แรม ทำให้คอมเร็วขึ้นยิ่งแรมเยอะคอมเร็วก็ยิ่งเร็ว แต่รู้หรือไม่ว่าหน้าที่...
- การ์ดจอ (Graphic Card) หรือการ์ดแสดงผล เป็นเหมือนสีสันของคอมพิวเตอร์เลยครับ การ์ดจอ ( Graphic Card) คือ แผงวงจรที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลจากเค...
- ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) ถือว่ามีความสำคัญมาก ถ้าหากไม่มีฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์ของคุณจะไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากขาดสื่อหลักที่ใช้ในการเก็บบันท...
- การ์ดแลน(LAN Card) เป็นชื่อที่เรียกกันติดปากทั่วไป แต่คุณรู้หรือไม่ว่าชื่ออย่างเป็นทางการของมันมีชื่อว่า การ์ดอีเธอร์เน็ต มีไว้สำหรับรับ/ส่ง...
แรม (RAM) คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร
แรม (RAM) คืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร ถ้าให้พูดกันลอยๆก็คงคิดกันไปว่า แรม ทำให้คอมเร็วขึ้นยิ่งแรมเยอะคอมเร็วก็ยิ่งเร็ว แต่รู้หรือไม่ว่าหน้าที่จริงๆ ของแรมนั้นคืออะไร
แรม (RAM : Random Access Memory) คือ หน่วยความจำที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำประเภทที่อ่าน/เขียน ข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา แต่ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำจะหายหมดทันที
หน่วยความจำจะทำงานร่วมกันกับซีพียู (CPU)อยู่ตลอดเวลา่ แทบทุกจังหวะการทำงานของซีพียู (CPU) จะต้องมีการอ่าน/เขียนข้อมูลไปยังหน่วยความจำเสมอ หรือแม้แต่ในขณะที่เราสั่งย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งก็ต้องใช้หน่วยความเป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
เปรียบเทียบง่ายๆ ก็ประมาณว่า แรมก็คล้ายๆ กับคลังขนส่งที่จะเป็นตัวกลางในการขนส่งสินค้า ในทีนี้ก็คือข้อมูลโดยจะทำงานร่วมกับบริษัทแม่ก็คือ ซีพียู (CPU) ที่เป็นตัวกลางในการรีบคำสั่งงานจากลูกค้าเพื่อมาประมวลผลแล้วส่งผลที่ได้ไปให้แรมนั่นเอง
แรม (RAM : Random Access Memory) คือ หน่วยความจำที่ใช้เป็นหน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำประเภทที่อ่าน/เขียน ข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา แต่ถ้าไฟดับหรือปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจำจะหายหมดทันที
หน่วยความจำจะทำงานร่วมกันกับซีพียู (CPU)อยู่ตลอดเวลา่ แทบทุกจังหวะการทำงานของซีพียู (CPU) จะต้องมีการอ่าน/เขียนข้อมูลไปยังหน่วยความจำเสมอ หรือแม้แต่ในขณะที่เราสั่งย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งก็ต้องใช้หน่วยความเป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
เปรียบเทียบง่ายๆ ก็ประมาณว่า แรมก็คล้ายๆ กับคลังขนส่งที่จะเป็นตัวกลางในการขนส่งสินค้า ในทีนี้ก็คือข้อมูลโดยจะทำงานร่วมกับบริษัทแม่ก็คือ ซีพียู (CPU) ที่เป็นตัวกลางในการรีบคำสั่งงานจากลูกค้าเพื่อมาประมวลผลแล้วส่งผลที่ได้ไปให้แรมนั่นเอง
สมัครสมาชิก: ส่งความคิดเห็น (Atom)
Popular Posts
- เมนบอร์ด (Mainboard) คือ ศุนย์กลางของการเชื่อมต่อสำหรับอุปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีชิปเซตที่ำทำหน้าที่รับ/ส่งข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆ อีกข...
- แรม (RAM) คืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร ถ้าให้พูดกันลอยๆก็คงคิดกันไปว่า แรม ทำให้คอมเร็วขึ้นยิ่งแรมเยอะคอมเร็วก็ยิ่งเร็ว แต่รู้หรือไม่ว่าหน้าที่...
- การ์ดจอ (Graphic Card) หรือการ์ดแสดงผล เป็นเหมือนสีสันของคอมพิวเตอร์เลยครับ การ์ดจอ ( Graphic Card) คือ แผงวงจรที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลจากเค...
Recent Posts
Sample Text
รับสมัครแอดมินประจำเพจ Facebook IT Sentre updatez
-ชอบเทคโนโลยี
-ชอบค้นคว้าหาความรู้
-มีเวลาให้กับเพจไม่มากก็น้อย แต่ขอให้อัพเดทเรื่อยๆ
หมายเหตุ เราไม่ได้จ้างนะครับแต่ขอคนที่มีใจรักและอยากทำจริงๆ
Categories
- การทำงานของชิปเซต(Chipset) (2)
- การเลือกซื้อซีพียู (2)
- คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (3)
- ปัญหาและสาเหตุเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (8)
- รวมซีพียูของ AMD (4)
- รวมซีพียูของ Intel (9)
- รวมซ็อกเก็ต AMD (1)
- รวมซ็อกเก็ตซีพียูตระกูล AMD (1)
- รวมซ๊อกเก็ต Intel (5)
- รวมเรื่องน่ารู้ (23)
- ส่วนประกอบของเมนบอร์ด(Mainboard) (10)
- อุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (13)
- เจาะลึกเรื่อง CPU (3)
Blog Archive
- ▼ 2013 (84)
- ▼ มีนาคม (61)
- ฮาร์ดดิสก์ IDE
- การเลือกซื้อแรมแบบ Channel Kit
- เพิ่มความแรง 2-4 เท่าด้วย Multi Channel
- เพิ่มแรมยังไงให้พอกับการใช้งาน
- ฟังก์ชันของเมนบอร์ดยุคใหม่
- การเลือกซื้อซีพียูของ AMD
- การเลือกซื้อซีพียูของ Intel
- ซีพียูตระกูล Phenom ll X6
- AMD Black Edition ซีพียูสำหรับนักโอเวอร์คล็อก
- ซีพียูตระกูล Phenom ll
- ซีพียูตระกูล Athlon ll
- ซีพียูรหัส Sandy Bridge ปี 2010-2011
- ซีพียูตระกูล Core i7
- ซีพียูตระกูล Core i5
- ซีพียูตระกูล Core i3
- ซีพียูตระกูล Core 2 Extreme
- ซีพียูตระกูล Core 2 Quad
- ซีพียูตระกูล Core 2 Duo
- ซีพียูตระกูล Pentium Dual-Core
- ซีพียูตระกูล Celeron
- AMD AM3
- AMD AM2/AM2+
- สาเหตุการเกิด Bad sector
- วิธีแก้ปัญหา NTLDR is missing บูตเข้าวินโดว์ไม่ได้...
- สาเหตุ!! ที่อาจทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์แฮงค์และวินโ...
- InteI LGA2011
- InteI LGA1155
- InteI LGA1366
- InteI LGA1156
- InteI LGA775
- ระบบบัสของซีพียู(CPU)
- เทคโนโลยีรุ่นใหม่ของ CPU ที่น่าสนใจ
- แคช (Cache) คืออะไร ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับซีพียู
- แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)
- เคส (Case)
- การ์ดแลน (LAN Card)
- โมเด็ม (Modem)
- คีย์บอร์ดและเมาส์ (Keyborad&Mouse)
- จอภาพ (Monitor)
- ไดรว์ CD/DVD
- USB 3.0
- เจาะลึกการทำงานของ North Bridge และ South Bridge
- พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆ
- หัวต่อสวิตช์ควบคุม
- ชิปรอมไบออส (ROM BIOS)
- หัวต่อแหล่งจ่ายไฟ(Power Supply)
- หัวต่อไดรว์ต่างๆ
- สล็อต PCI
- สล็อตของการ์ดจอ (Graphic Card Slot)
- ซ็อกเก็ตแรม (RAM Socket)
- ชิปเซต (Chipset)
- ซ็อกเก็ตซีพียู (CPU Socket)
- เมนบอร์ด (Mainboard) คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร
- ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) คืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร
- การ์ดเสียง (Sound Card) คืออะไร สำคัญแค่ไหน
- การ์ดจอ (Graphic Card) คืออะไร ทำหน้าที่อย่างไร
- แรม (RAM) คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร
- ซีพียู (CPU) คืออะไร มีหน้าที่ยังไง
- ชิ้นส่วนภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
- คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
- องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- ▼ มีนาคม (61)
Design by Theme Junkie | Blogger Template by NewBloggerThemes.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น