สูตรการพันหม้อแปลงใช้ได้ทุกแกน
montreepurimsak:
การพันค่า ความเหนียวนำ (L) มีหน่วยเป็น เฮนรี่
1H (เฮนลี่) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระแส 1A/วินาที ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้า 1 Volte
แกนเหล็ก ใช้กับความถี่สูง 50Hz-20KHz
แกนผงเหล็กอัด หรือ แกนเฟอร์ไรต์ ใช้กับความถี่สูง 10KHz-0.5MHz
L = µ(N2A)/l
เมื่อ
L = ค่าความเหนี่ยวนำ (H)
N = จำนวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่หน้าตัดของแกนที่พันขดลวด (m2)
µ = ค่าความซึมซาบได้ของชนิดของแกน
l = ความยาวของแกนที่พันขดลวด (m)
ค่า µ (ค่าความซึมซาบได้ของแกนวัสดุชนิดต่างๆ)
อากาศหรือ สูญอากาศ 1.26x10-5
นิกเกิล 6.28x10-5
เดบอลด์ 7.56x10-5
เหล็กหล่อ 1.1x10-4
เหล็กแท่ง 5.56x10-4
แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า 6.9x10-3
เหล็กซิลิกอน (เฟอร์ไรต์) 8.8x10-3
เฟอร์มาลอย 0.126
ซุปเปอร์เฟอร์มาลอย 1.26
การพันขดลวดหม้อแปลง switching หรือ หม้อแปลงต่างๆ
E1= 150 V
f= 50000 Hz
A= 7.85E-05 m2
ø= 1.2 T
ø= 1.2T (คือค่าเส้นแรงแม่เหล็กทื่พื้นที่ 1 ตารางเมตรของแกนเหล็กหม้อแปลง ส่วนแกนเฟอร์ไรต์ มีค่ามากกว่าก็สามารถใช้ค่านี้คำนวณได้(โดยประมาณ))
การพันหม้อแปลงขด Primary
N1= E1/(4.44*f*A*ø)
7.2 รอบ
N2 = N1*E2/E1
การพันค่า ความเหนียวนำ (L) มีหน่วยเป็น เฮนรี่
1H (เฮนลี่) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระแส 1A/วินาที ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้า 1 Volte
แกนเหล็ก ใช้กับความถี่สูง 50Hz-20KHz
แกนผงเหล็กอัด หรือ แกนเฟอร์ไรต์ ใช้กับความถี่สูง 10KHz-0.5MHz
L = µ(N2A)/l
เมื่อ
L = ค่าความเหนี่ยวนำ (H)
N = จำนวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่หน้าตัดของแกนที่พันขดลวด (m2)
µ = ค่าความซึมซาบได้ของชนิดของแกน
l = ความยาวของแกนที่พันขดลวด (m)
ค่า µ (ค่าความซึมซาบได้ของแกนวัสดุชนิดต่างๆ)
อากาศหรือ สูญอากาศ 1.26x10-5
นิกเกิล 6.28x10-5
เดบอลด์ 7.56x10-5
เหล็กหล่อ 1.1x10-4
เหล็กแท่ง 5.56x10-4
แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า 6.9x10-3
เหล็กซิลิกอน (เฟอร์ไรต์) 8.8x10-3
เฟอร์มาลอย 0.126
ซุปเปอร์เฟอร์มาลอย 1.26
การพันขดลวดหม้อแปลง switching หรือ หม้อแปลงต่างๆ
E1= 150 V
f= 50000 Hz
A= 7.85E-05 m2
ø= 1.2 T
ø= 1.2T (คือค่าเส้นแรงแม่เหล็กทื่พื้นที่ 1 ตารางเมตรของแกนเหล็กหม้อแปลง ส่วนแกนเฟอร์ไรต์ มีค่ามากกว่าก็สามารถใช้ค่านี้คำนวณได้(โดยประมาณ))
การพันหม้อแปลงขด Primary
N1= E1/(4.44*f*A*ø)
7.2 รอบ
N2 = N1*E2/E1
*ช่างพร PPS*:
เป็นกำลังใจให้ครับผม... <." <."เพิ่มความรู้ให้น้องๆได้ศึกษากันครับ :afro:
เป็นกำลังใจให้ครับผม... <." <."เพิ่มความรู้ให้น้องๆได้ศึกษากันครับ :afro:
naidb:
ขอบคุณมากครับผม ความรู้อีกแล้ว ((70))
ขอบคุณมากครับผม ความรู้อีกแล้ว ((70))
suriya050:
+1 จัดไป :1dd01:
+1 จัดไป :1dd01:
montreepurimsak:
อ้างจาก: montreepurimsak ที่ ธันวาคม 11, 2010, 11:25:54 AM
การพันค่า ความเหนียวนำ (L) มีหน่วยเป็น เฮนรี่
1H (เฮนลี่) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระแส 1A/วินาที ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้า 1 Volte
แกนเหล็ก ใช้กับความถี่สูง 50Hz-20KHz
แกนผงเหล็กอัด หรือ แกนเฟอร์ไรต์ ใช้กับความถี่สูง 10KHz-0.5MHz
L = µ(N2A)/l
เมื่อ
L = ค่าความเหนี่ยวนำ (H)
N = จำนวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่หน้าตัดของแกนที่พันขดลวด (m2)
µ = ค่าความซึมซาบได้ของชนิดของแกน
l = ความยาวของแกนที่พันขดลวด (m)
ค่า µ (ค่าความซึมซาบได้ของแกนวัสดุชนิดต่างๆ)
อากาศหรือ สูญอากาศ 1.26x10-5
นิกเกิล 6.28x10-5
เดบอลด์ 7.56x10-5
เหล็กหล่อ 1.1x10-4
เหล็กแท่ง 5.56x10-4
แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า 6.9x10-3
เหล็กซิลิกอน (เฟอร์ไรต์) 8.8x10-3
เฟอร์มาลอย 0.126
ซุปเปอร์เฟอร์มาลอย 1.26
การพันขดลวดหม้อแปลง switching หรือ หม้อแปลงต่างๆ
E1= 150 V
f= 50000 Hz
A= 7.85E-05 m2
ø= 1.2 T
ø= 1.2T (คือค่าเส้นแรงแม่เหล็กทื่พื้นที่ 1 ตารางเมตรของแกนเหล็กหม้อแปลง ส่วนแกนเฟอร์ไรต์ มีค่ามากกว่าก็สามารถใช้ค่านี้คำนวณได้(โดยประมาณ))
การพันหม้อแปลงขด Primary
N1= E1/(4.44*f*A*ø)
7.2 รอบ
N2 = N1*E2/E1
เบอร์ลวด
AWG Dia-mm *Amps MaxAmps Ohm/m m/Ohm
0 8.25130 140.71000 211.06000 0.00033 3052.80528
1 7.34800 111.59000 167.38000 0.00041 2421.09211
2 6.54360 88.49200 132.74000 0.00052 1920.01200
3 5.82720 70.17700 105.27000 0.00066 1522.65227
4 5.18930 55.65300 83.48000 0.00083 1207.53075
5 4.62120 44.13500 66.20300 0.00104 957.60576
6 4.11530 35.00100 52.50100 0.00132 759.40594
7 3.66480 27.75700 41.63500 0.00166 602.25023
8 3.26360 22.01200 33.01800 0.00209 477.58776
9 2.90630 17.45600 26.18500 0.00264 378.75788
10 2.58810 13.84400 20.76500 0.00333 300.36004
11 2.30480 10.97800 16.46800 0.00420 238.20282
12 2.05250 8.70640 13.06000 0.00529 188.90189
13 1.82780 6.90450 10.35700 0.00668 149.80798
14 1.62770 5.47550 8.21320 0.00842 118.80288
15 1.44950 4.34230 6.51340 0.01062 94.21542
16 1.29080 3.44360 5.16540 0.01339 74.71647
17 1.14950 2.73090 4.09630 0.01688 59.25293
18 1.02370 2.16570 3.24850 0.02128 46.99070
19 0.91160 1.71750 2.57620 0.02684 37.26373
20 0.81180 1.36200 2.04300 0.03384 29.55176
21 0.72290 1.08010 1.62020 0.04267 23.43564
22 0.64380 0.85660 1.28490 0.05381 18.58536
23 0.57330 0.67930 1.01900 0.06785 14.73897
24 0.51060 0.53870 0.80810 0.08556 11.68857
25 0.45470 0.42720 0.64080 0.10789 9.26943
26 0.40490 0.33880 0.50820 0.13605 7.35104
27 0.36060 0.26870 0.40300 0.17156 5.82958
28 0.32110 0.21310 0.31960 0.21633 4.62316
29 0.28590 0.16900 0.25350 0.27278 3.66637
30 0.25460 0.13400 0.20100 0.34397 2.90747
31 0.22680 0.10630 0.15940 0.43373 2.30573
32 0.20190 0.08430 0.12640 0.54693 1.82853
33 0.17980 0.06680 0.10030 0.68967 1.45011
34 0.16010 0.05300 0.07950 0.86967 1.14998
35 0.14260 0.04200 0.06300 1.09663 0.91197
36 0.12700 0.03330 0.05000 1.38283 0.72322
37 0.11310 0.02640 0.03970 1.74370 0.57354
38 0.10070 0.02100 0.03140 2.19877 0.45485
39 0.08970 0.01660 0.02490 2.77260 0.36070
40 0.07990 0.01320 0.01980 3.49633 0.28605
ขนาดของลวดที่จะใช้พันต้องสอดคล้องกันกับจำนวนรอบที่คำนวนได้กับขนาดของแกนที่นำมาพัน
ถ้าเราเลือกขนาดลวดใหญ่ไปก็จะพันรอบไม่ได้
(รอบที่คำนวนได้นั้นสามารถพันเกินได้แต่พันน้อยกว่าไม่ได้เพราะมันมีผลกับคุณสมบัติของแกนด้วย)
ถ้าเราเลือกขนาดของลวดเล็กไปก็ไม่มีผลในการพันจำนวนรอบแต่ว่ากระแสที่ได้จะถูกจำกัดด้วยขนาดของลวด
ต้องเลือกให้สมดุลกับขนาดของแกนที่พัน
ความร้อนในขดลวด = I2*R (Watt) สำหรับหม้อแปลงทั่วไป
ส่วนความร้อนในวงจร Switching ที่เกิดจากขดลวดแทบจะไม่มีเพราะความต้านทานในลวดต่ำ แต่ความร้อนจะเกิดจาก
แกนมากกว่า เพราะใช้ความถี่สูงทำให้เกิด กระแสไหลวนภายในแกนสูง
ขอให้โชคดีทุกคน <." แบ่งปันกันไป ไม่มากก็น้อย <." ((74))
อ้างจาก: montreepurimsak ที่ ธันวาคม 11, 2010, 11:25:54 AM
การพันค่า ความเหนียวนำ (L) มีหน่วยเป็น เฮนรี่
1H (เฮนลี่) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงกระแส 1A/วินาที ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้า 1 Volte
แกนเหล็ก ใช้กับความถี่สูง 50Hz-20KHz
แกนผงเหล็กอัด หรือ แกนเฟอร์ไรต์ ใช้กับความถี่สูง 10KHz-0.5MHz
L = µ(N2A)/l
เมื่อ
L = ค่าความเหนี่ยวนำ (H)
N = จำนวนรอบของขดลวด
A = พื้นที่หน้าตัดของแกนที่พันขดลวด (m2)
µ = ค่าความซึมซาบได้ของชนิดของแกน
l = ความยาวของแกนที่พันขดลวด (m)
ค่า µ (ค่าความซึมซาบได้ของแกนวัสดุชนิดต่างๆ)
อากาศหรือ สูญอากาศ 1.26x10-5
นิกเกิล 6.28x10-5
เดบอลด์ 7.56x10-5
เหล็กหล่อ 1.1x10-4
เหล็กแท่ง 5.56x10-4
แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้า 6.9x10-3
เหล็กซิลิกอน (เฟอร์ไรต์) 8.8x10-3
เฟอร์มาลอย 0.126
ซุปเปอร์เฟอร์มาลอย 1.26
การพันขดลวดหม้อแปลง switching หรือ หม้อแปลงต่างๆ
E1= 150 V
f= 50000 Hz
A= 7.85E-05 m2
ø= 1.2 T
ø= 1.2T (คือค่าเส้นแรงแม่เหล็กทื่พื้นที่ 1 ตารางเมตรของแกนเหล็กหม้อแปลง ส่วนแกนเฟอร์ไรต์ มีค่ามากกว่าก็สามารถใช้ค่านี้คำนวณได้(โดยประมาณ))
การพันหม้อแปลงขด Primary
N1= E1/(4.44*f*A*ø)
7.2 รอบ
N2 = N1*E2/E1
เบอร์ลวด
AWG Dia-mm *Amps MaxAmps Ohm/m m/Ohm
0 8.25130 140.71000 211.06000 0.00033 3052.80528
1 7.34800 111.59000 167.38000 0.00041 2421.09211
2 6.54360 88.49200 132.74000 0.00052 1920.01200
3 5.82720 70.17700 105.27000 0.00066 1522.65227
4 5.18930 55.65300 83.48000 0.00083 1207.53075
5 4.62120 44.13500 66.20300 0.00104 957.60576
6 4.11530 35.00100 52.50100 0.00132 759.40594
7 3.66480 27.75700 41.63500 0.00166 602.25023
8 3.26360 22.01200 33.01800 0.00209 477.58776
9 2.90630 17.45600 26.18500 0.00264 378.75788
10 2.58810 13.84400 20.76500 0.00333 300.36004
11 2.30480 10.97800 16.46800 0.00420 238.20282
12 2.05250 8.70640 13.06000 0.00529 188.90189
13 1.82780 6.90450 10.35700 0.00668 149.80798
14 1.62770 5.47550 8.21320 0.00842 118.80288
15 1.44950 4.34230 6.51340 0.01062 94.21542
16 1.29080 3.44360 5.16540 0.01339 74.71647
17 1.14950 2.73090 4.09630 0.01688 59.25293
18 1.02370 2.16570 3.24850 0.02128 46.99070
19 0.91160 1.71750 2.57620 0.02684 37.26373
20 0.81180 1.36200 2.04300 0.03384 29.55176
21 0.72290 1.08010 1.62020 0.04267 23.43564
22 0.64380 0.85660 1.28490 0.05381 18.58536
23 0.57330 0.67930 1.01900 0.06785 14.73897
24 0.51060 0.53870 0.80810 0.08556 11.68857
25 0.45470 0.42720 0.64080 0.10789 9.26943
26 0.40490 0.33880 0.50820 0.13605 7.35104
27 0.36060 0.26870 0.40300 0.17156 5.82958
28 0.32110 0.21310 0.31960 0.21633 4.62316
29 0.28590 0.16900 0.25350 0.27278 3.66637
30 0.25460 0.13400 0.20100 0.34397 2.90747
31 0.22680 0.10630 0.15940 0.43373 2.30573
32 0.20190 0.08430 0.12640 0.54693 1.82853
33 0.17980 0.06680 0.10030 0.68967 1.45011
34 0.16010 0.05300 0.07950 0.86967 1.14998
35 0.14260 0.04200 0.06300 1.09663 0.91197
36 0.12700 0.03330 0.05000 1.38283 0.72322
37 0.11310 0.02640 0.03970 1.74370 0.57354
38 0.10070 0.02100 0.03140 2.19877 0.45485
39 0.08970 0.01660 0.02490 2.77260 0.36070
40 0.07990 0.01320 0.01980 3.49633 0.28605
ขนาดของลวดที่จะใช้พันต้องสอดคล้องกันกับจำนวนรอบที่คำนวนได้กับขนาดของแกนที่นำมาพัน
ถ้าเราเลือกขนาดลวดใหญ่ไปก็จะพันรอบไม่ได้
(รอบที่คำนวนได้นั้นสามารถพันเกินได้แต่พันน้อยกว่าไม่ได้เพราะมันมีผลกับคุณสมบัติของแกนด้วย)
ถ้าเราเลือกขนาดของลวดเล็กไปก็ไม่มีผลในการพันจำนวนรอบแต่ว่ากระแสที่ได้จะถูกจำกัดด้วยขนาดของลวด
ต้องเลือกให้สมดุลกับขนาดของแกนที่พัน
ความร้อนในขดลวด = I2*R (Watt) สำหรับหม้อแปลงทั่วไป
ส่วนความร้อนในวงจร Switching ที่เกิดจากขดลวดแทบจะไม่มีเพราะความต้านทานในลวดต่ำ แต่ความร้อนจะเกิดจาก
แกนมากกว่า เพราะใช้ความถี่สูงทำให้เกิด กระแสไหลวนภายในแกนสูง
ขอให้โชคดีทุกคน <." แบ่งปันกันไป ไม่มากก็น้อย <." ((74))
นำร่อง
[0] ดัชนีข้อความ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น